วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
กระบวนการเรียนการสอน
หลักการและกระบวนการจัดการเรียนการสอนท
ี่ไดผล
รศ.ดร. เสาวลักษณ รัตนวิชช
ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
คณะศกษาศาสตร ึ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมตริ
(นําเสนอในโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ“พัฒนาอาจารยดานการจัดการเรียนการสอน ประจําป 2551” วันท
ี่
4
กันยายน 2551 ณ หองประชุม 101-102 ชั้น 1 อาคารหอประชุมธํารง บัวศรีมหาวิทยาลัยบูรพา)
ธรรมชาติการรับรูและเรียนรู : ประสิทธิภาพและการทํางานของสมอง
นับแตเดือนแรกในครรภมารดา เซลลสมองนับพันลานตัว ไดกอกําเนิดข
ึ้
นจากพันธุกรรม
(Gene) ของบิดาและมารดา เซลลสมองแหลงน
ี้เปรียบเสมือนศูนยบัญชาการทําหนาที่สั่งการให
มนุษยมีอวัยวะตาง ๆ ครบอาการ 32 ไดมนุษยแตละคนจะมีประสิทธิภาพของเซลลสมองตางกัน
ขึ้นอยูกับความสมบูรณของรางกายและจิตใจรวมท
ั้
งภาวะแวดลอมอื่น ๆ ของมารดา (นัยพินิช คช
ภักดี, 2533; Jensen Eric, 2000) สมองมีอิทธิพลตอการเรียนรูเน
ื่องจากเปนอวัยวะสําคัญของมนุษย
ในการเรียนรูปราศจากสมองการเรียนรูตาง ๆ ไมอาจเกิดข
ึ้นไดดังนั้น การทําความเขาใจเกี่
ยวกับ
การทํางานของสมองจะชวยใหผูสอนเขาใจธรรมชาติของกระบวนการเรียนรูและเรียนรูของผูเรียน
ไดมากขึ้น อันจะเปนประโยชนในการจัดวางหลักสูตร และการจัดการเรียนการสอนที่มี
ประสิทธิภาพได
สมองมนุษยโดยธรรมชาติจะทําหนาที่รับรูและเรียนรูไดเปนอยางดีโดยเฉพาะอยางยิ่ง
สมองสวนบนที่ทําหนาท
ี่
เก
ี่
ยวกับการส
ื่
อสารทางภาษาซ
ึ่งเปนความจําเปนในการอยูรอดของมนุษย
นอกจากน
ี้
การทรงจําซ
ึ่งเปนองคประกอบสําคัญของการเรียนรูจะเก
ี่
ยวของกับภาษาซ
ึ่งเปนวิถีทาง
ที่สมบูรณในการถายโอนความคิดรวบยอดเปนรูปสัญลักษณการเรียนรูและการทรงจําจะมี
กระบวนการท
ี่
เก
ี่
ยวของสัมพันธกันไมอาจแยกออกจากกันได (Lemonick, 1995)
จากผลงานวิจัยของ Roger Sperry (Ph.D) (1996) แหงสถาบันเทคโนโลยี
แคลิฟอรเนีย ซึ่งไดรับรางวัลโนเบล ไดคนพบวาสมองของมนุษยมีการแบงแยกหนาท
ี่ในการ
ทํางานอยางเปนระบบ และเปนอิสระแกกัน โดยแบงออกเปนสมองซีกซาย (Left Hemisphere) และ
สมองซีกขวา (Right Hemisphere) สมองทั้ง 2 ซีกจะถูกเช
ื่อมโยงดวยใยประสาท เพ
ื่อใหสมองทั้ง 2
สวนสามารถรับรูการทํางานซ
ึ่
งกันและกัน โดยมีประสาทสวนกลาง ทําหนาท
ี่
คลายเปนสะพาน
เช
ื่อมโยงสมอง (Corpus Callosum) รับการถายโอนความรูและประสบการณจากการทํางานของ
สมองทั้ง 2 ซีกเขาสูประสาทสวนกลางซ
ึ่
งทําหนาท
ี่
เก็บกับความทรงจํา สมองแตละซีกจะมีบริเวณ
2
รับรูจากอวัยวะสัมผัสควบคุม การปฏิบัติการเคล
ื่อนไหวของรางกาย (Gazzanica, 1981: 630)
สมองซีกซายจะทําหนาที่รับรูและส
ื่
อความของภาษา เชน การฟงการพูด มีความสามารถแยกแยะ
ความเปนเหตุเปนผลไดเชน คณิตศาสตรวิทยาศาสตรสมองซีกขวาจะทําหนาท
ี่ในการคิด
จินตนาการการใชทาทางเคล
ื่อนไหวโดยไมใชคําพูดเพ
ื่
อส
ื่
อความหมายการทํางานของสมองทั้ง 2
ซีกหากมีสมดุลกันแลวการเช
ื่อมโยงการรับรูเขาสูประสาทสวนกลาง โดยผานสะพานเช
ื่อมโยง
สมองจะมีประสิทธิภาพไดมากการรับรูนั้น ๆ จะคงทนถาวรในระยะยาวไดทําใหเกิดความทรงจํา
ระยะยาว เชน การขับรถการวายน้ําการเรียนโดยการปฏิบัติหากการทํางานของสมองมีความโนม
เอียงไปเพียงขางใดขางหนึ่ง หรือซีกใดซีกหนึ่งการรับรูตาง ๆ จะเกิดข
ึ้นเปนความทรงจําในระยะ
สั้น ๆ เทานั้น เชน การทองคําศัพท (ใชสมองซีกซาย) การอานออกเสียง (ใชสมองซีกซาย) การ
จินตนาการโดยปราศจากการปฏิบัติ (ใชสมองซีกขวา) นอกจากความทรงจําระยะยาวของมนุษยจะ
เกิดข
ึ้นไดจากการทํางานของสมองซีกซายและซีกขวาอยางมีสมดุลแลวการจําของมนุษยจากการ
ฟงการพูดการอาน และการเขียน จะชวยใหเกิดพิมพเขียว (Blue Print) ประทับย
้ํ
าความทรงจําของ
ผูเรียนในการรับรูบอยครั้ง เชน การจําตัวสะกด การจําความแตกตางและคลายคลึงกันของเสียง
แมวาประสิทธิภาพของการทํางานของเซลลสมองของแตละคนจะแตกตางกัน แตการฝกฝน และ
การรับรูจากประสบการณตาง ๆ จะชวยใหการเรียนรูและการทรงจําตาง ๆ พัฒนาไดดีขึ้น
ยกตัวอยางแมวาคนบางคนอาจไดรับพันธุกรรมที่ดีเลิศจากบิดา มารดา ซึ่งเปนอัจฉริยะ แตหาก
ไมไดรับการฝกฝน หรือรับรูขอมูลจากประสบการณตาง ๆ ไดมากพอก็ยอมไมเกิดการเรียนรูอะไร
ไดมากนัก ประสิทธิภาพของสมองท
ี่ไดรับจากพันธุกรรมของบิดามารดาก็ยอมไมมีความหมายแต
อยางใดในการเรียนรูประสบการณหรือมวลความรูที่ไดรับจึงเปนเร
ื่
องสําคัญอยางย
ิ่งในการเรียนรูที่
มีประสิทธิภาพ เน
ื่
องจากการเรียนรูจากประสบการณตาง ๆ จะกระตุนการรับรูของสมองไดมาก
และมีการเช
ื่อมโยงสงขอมูลผานเซลลประสาท (Nerve Cells) หรือนิวรอนส (Neurons) สมองจะมี
การเจริญงอกงามไดจากการท
ี่
เซลลประสาท หรือนิวรอนสสงขอมูลในลักษณะการกระตุนไฟฟา
ทําใหเกิดศักย (Electrical Impulses) เซลลประสาทจะแยกออกจากกันดวยรอยตอ หรือจุดประสาน
(Synapse) ระหวางเซลลประเภทหนึ่
งกับอีกเซลลหนึ่ง เม
ื่
อเกิดการกระตุนผานเซลลประสาท เซลล
ประสาทจะปลอยสารเคมีที่เรียกวา สารส
ื่อประสาท (Neuro-Transmitter) เขาไปในรอยตอระหวาง
เซลลประสาท สารส
ื่อประสาทจะนําหรือทําใหเกิดการกระตุนเช
ื่อมโยงระหวางเซลลประเภทตาง ๆ
ใหทํางานไดขอมูลขาวสารจะผานระบบประสาทสวนกลางไปตามเซลลประสาทจากตัวหน
ึ่งไปยัง
อีกตัวหนึ่งโดยผานบริเวณรอยตอระหวางเซลลประเภทตัวหน
ึ่
งกับเซลลประเภทตัวอื่น ๆ ไดทําให
เกิดแขนงของเซลลประสาทไดมากหรือยาว และสามารถรับขอมูลขาวสารไดดี (ราตรีสุดทรวง,
2535; Lemonick, 1975, Jensen, 2000) โดยธรรมชาตินั้น ผูเรียนจะใชสมองมุงไปยังการเรียนรูที่มี
ความหมาย และเปนความตองการมากกวาการเรียนรูจากกรอบการสอนที่จัดวางไวตามความ
3
ประสงคของผูสอน โดยไมคํานึงถึงสมรรถภาพแวดลอมหรือความตองการของผูเรียน ซึ่งอาจทํา
ใหการเรียนรูไมประสบความสําเร็จได (Jensen, 2000: 13-14)
อีริคเจนเซน (Jensen, 2000: 33-38) สนับสนุนแนวคิดเก
ี่
ยวกับการเรียนรูที่ใชสมองเปน
หลัก(Brain – Based Learning) โดยเสนอขอเท็จจริงวาการเรียนรูที่ดีที่สุดจะเกิดข
ึ้นเปนลําดับท
ี่
อาจคาดหมายไดลําดับดังกลาวน
ี้
จะแบงออกได 5 ขั้นตอน ดังน
ี้
1. ขั้นเตรียมการ (Preparation Stage) ในขั้
นน
ี้คือ การเตรียมกรอบงานเพ
ื่
อการเรียนรู
ใหม และเร
ิ่มใชสมองของผูเรียนเกิดการทํางานอยางตอเน
ื่
อง ในขั้
นน
ี้
กระบวนการเรียนการสอน
มักจะเนนการทบทวนเร
ื่
องการนําเสนอเปนภาพ หรือเร
ื่
องราวท
ี่
เก
ี่
ยวของ หากผูเรียนมีความรูเดิมมา
กอนท
ี่
จะทําใหการเรียนรูเร็วขึ้น เชน การฟงเร
ื่องตลกอาจไมขําเลย หากไมรูเรื่องเดิมมากอน
2. ขั้นรับรู (Acquisition Stage) นิวรอนสของประสาทจะทํางานเช
ื่อมโยงกัน
แหลงขอมูลในการรับรูไดแกการอภิปราย การบรรยาย การใชเคร
ื่
องมือทางการเห็น การใหสิ่งเรา
จากส
ิ่
งแวดลอม ประสบการณจากการลงมือปฏิบัติการแสดงบทบาทตัวอยาง การอาน การทํา
โครงการกลุม การทํากิจกรรมคูฯลฯดังนั้น การใหผูเรียนเรียนรูบางส
ิ่
งบางอยางไดก็ควรใหเขาได
พูดไดปฏิบัติเน
ื่
องจากสมองจะซึมซับขอมูลหรือขอเท็จจริงท
ี่เปนสวนเล็ก ๆ มาประสานตอกันได
การใหรูปแบบและประสบการณจะทําใหสมองของผูเรียนรับรูไดมากขึ้น จนกระท
ั่
งจับขอมูลสําคัญ
ได สมองอาจจะสรางเง
ื่อนไข และการรับกฎเกณฑโดยรวม ซึ่งผูเรียนอาจปรับได บอยคร
ั้
งที่มัก
พบวาท
ั้งในชั้
นเรียนหรือในโรงเรียน สิ่งท
ี่
ครูสอนอาจไมใชสิ่งที่นักเรียนเรียนรูดังน
ั้นในการเรียน
การสอนจึงตองใหสมองของผูเรียนรับรูและใหนักเรียนไดประสบการณตาง ๆ จากการเรียนรูเอง
สัดสวนของเวลาที่ผูเรียนไดปฏิบัติและพูด ควรมีมากกวาการนั่ง และการฟง ครูสวนใหญมักจัด
เวลาสําหรับผูเรียนนอยมากในการปฏิบัติการทดลอง การอภิปราย การทบทวนความรูและผลท
ี่
ไดรับก็คือตองมาสอนกันใหมมาตรฐานการศึกษาตองการใหผูเรียนมีความเขาใจที่ลึกซ
ึ้
งมากขึ้น มี
การคิดวิเคราะหและขยายเน
ื้
อหาสาระท
ี่
เรียน แตในทางตรงกันขาม ครูกลับไมขยายกรอบเวลาให
นักเรียนไดเรียนรูที่กวางขึ้น
3. ขั้นขยายรายละเอียดเพ
ิ่
มเติม (Elaboration Stage) ชองวางสําคัญในการเรียนการสอน
คือ ชองวางระหวางส
ิ่
งท
ี่
ครูอธิบาย กับส
ิ่
งที่นักเรียนเขาใจ การลดชองวางน
ี้
ครูจําเปนตองให
นักเรียนมีสวนรวมในการเขาใจสิ่
งท
ี่
เรียนไดลึกซ
ึ้
งขึ้น และไดขอมูลยอนกลับดวยกลวิธีให
ความหมายโดยนัย หรืออยางแจมแจง (Explicit) ครูใหการแกไขควบคูกับการสอน โดยหลักการ
ของการคิดอยางมีวิจารญาณ การขยายความโดยนัยหรืออยางแจมแจง เปนเร
ื่
องสําคัญในขั้
นตอนน
ี้
กลวิธีที่ใหความหมายอยางแจมแจง ไดแก การให คําเฉลย การตรวจสอบ การยอความหรือสรุป
ความ การใหขอมูล สําหรับการใหความหมายโดยนัย ไดแก การเลนบทบาทสมมุติการไปศึกษา
4
นอกสถานท
ี่ การใชประสบการณในชีวิตจริง การขยายรายละเอียดเพ
ิ่
มเติมในสิ่
งท
ี่
เรียนรูจะชวย
ใหสมองมีโอกาสไดจัดวิเคราะหตรวจสอบและเรียนรูไดลึกซ
ึ้
งขึ้น การทํางานของระบบประสาท
จะพัฒนาไดโดยการลองผิดลองถูก ยิ่งมีการทดลองฝกปฏิบัติและไดขอมูลยอนกลับมากข
ึ้
นเทาใด
คุณภาพในการทํางานของสมองก็จะย
ิ่
งดีขึ้นเทานั้น การเรียนโดยการทองจําอาจจะชวยใหสามารถ
ทําคะแนนในการสอบได แตอาจจะไมทําใหสามารถคิดในระดับสูงไดดังนั้น นักเรียนจึงควรได
ขอมูลยอนกลับในการเรียนรูใหมากอยางพอเพียงการเรียนรูสิ่งอื่น ๆ ก็จะตามมาไดเอง ประโยชนที่
นักเรียนจะไดรับก็คือการมีโอกาสไดทบทวนและประเมินงานของตัวเองและของผูอื่น พรอมท
ั้งได
ขอมูลยอนกลับท
ี่เปนเรื่องเปนราวดวยวิธีการที่มีประสิทธิภาพ
4. ขั้นสรางความทรงจํา (Memory Formation Stage)แมจะมีการใหกระบวนการขยาย
รายละเอียด ในการเรียนรูเพ
ิ่
มเติม โดยใหผูเรียนมีโอกาสไดทดลอง หรือมีปฏิสัมพันธในการเรียน
การสอน การทรงจํา ก็อาจดีหรือไมดีไดขึ้นอยูกับความสามารถในการเก็บกักความทรงจํานั้น ๆ
ของแตละบุคคล ซึ่งมีองคประกอบหลายประการดวยกัน เชน การพักผอนท
ี่
เพียงพอ ระดับของ
อารมณ บริบท อาหาร คุณภาพและปริมาณของการเช
ื่อมโยงระดับของสมอง สภาวะของผูเรียน
ความรูเดิม ฯลฯการพักผอนอยางพอเพียงจะชวยใหสมองทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ
ในการรวบรวมขอมูลอาหารที่ดีมีประโยชนก็สามารถทําใหรางกายไดรับสารที่ชวยใหการทรงจําท
ี่
ดีได
5. ขั้นบูรณาการเพ
ื่
อนําไปใช (Functional Integration Stage) ในขั้
นน
ี้ ผูเรียนจะ
สามารถระลึกส
ิ่
งท
ี่
เรียนรูและนําไปใชได
ขั้นตอนที่ถือวาสําคัญที่สุดคือขั้นตอนท
ี่
2, 3 และ 4 ซึ่งผูสอนตองตระหนักเพ
ื่อใหนักเรียน
เกิดการเรียนรูอันเปนปจจัยสําคัญท
ี่จะใหผูเรียนแสดงพฤติกรรมการเรียนรูไดตามท
ี่
คาดหวัง
โดยเฉพาะการมีสวนรวมในการเรียนการสอน โดยการพูดและการปฏิบัติกิจกรรม
ประเด็นสําคัญจากกลไกของสมองในการเรียนรู
จากประสิทธิภาพ และการทํางานของสมอง ซึ่งเปนกลไกสําคัญในการเรียนรูผูสอนจึงควร
ตระหนักในประเด็นสําคัญตาง ๆ เพ
ื่
อการจัดการเรียนรูใหเหมาะสมกับผูเรียนดังน
ี้
1. สมองเปนกลไกการเรียนรูของผูเรียน การจัดกระบวนการเรียนการสอนจึงตองเนน
ผูเรียนเปนสําคัญ เพ
ื่อใหการเรียนรูเปนไปตามธรรมชาติของการพัฒนาสมองของผูเรียนอยาง
แทจริง
2. ผูเรียนมีประสิทธิภาพของสมองท
ี่
แตกตางกัน ศักยภาพความตองการรวมท
ั้งเวลาในการ
เรียนรูยอมแตกตางกัน
5
3. การทรงจําระยะยาว เกิดจากการทํางานของสมองท
ั้
งซีกซายซีกขวาอยางมีสมดุลการ
จัดการเรียนการสอนจึงตองคํานึงถึงลักษณะและประเภทของกิจกรรมท
ี่หลากหลายและใหผูเรียนมี
โอกาสใชสมองท
ั้
งสองซีกอยางเหมาะสม
4. สมองจะพัฒนาไดมากหากผูเรียนมีการถายโอนหรือเช
ื่อมโยงขอมูลในการเรียนรูไดมาก
จากประสบการณและความพอใจกิจกรรม และลีลาในการเรียนรูของผูเรียน จึงควรหลากหลาย
การจัดการเรียนการสอน และข
ั้
นตอนการเรียนรูที่ประสบความสําเร็จ
จอหน บีแครรอล (Carroll, 1974: 116-118) ไดเสนอหลักการสําคัญจากงานวิจัย เก
ี่
ยวกับ
การจัดการเรียนการสอนที่ประสบความสําเร็จไว 5 ประการดังน
ี้
1. ความถนัดของผูเรียน (Learner’s Aptitude) ผูเรียนยอมมีความแตกตางกันในดานความ
ถนัดในการเรียนรูการใชเวลาของผูเรียนแตละคนยอมแตกตางกัน แตทุกคนสามารถประสบ
ความสําเร็จในการเรียนรูได
2. ความสามารถทางสติปญญาของผูเรียน (Learner’s Intelligence) ผูเรียนยอมมี
ความสามารถทางสติปญญาท
ี่
แตกตางกัน เวลาท
ี่ใชในการเรียนรูก็ยอมแตกตางกันดวยในชั้
นเรียน
แตละชั้น ยอมจะมีผูเรียนที่มีระดับสติปญญาแตกตางกัน
3. ความอุตสาหพยายามของผูเรียน (Learner’s Perseverance) ผูเรียนแตละคนยอมมีความ
สนใจและความตองการในการเรียนรูที่แตกตางกัน และยอมจะมีผลตอแรงจูงใจ พรอมท
ั้งความใฝ
สัมฤทธ
ิ์ในการเรียนรูแตกตางกันดวย
4. คุณภาพในการสอน (Quality of Instruction) กลวิธีการสอนท
ี่
แตกตางกัน ยอมมีผลใน
การเรียนรูของผูเรียนแตกตางกัน การสอนที่ดียอมทําใหผูเรียนมีผลสัมฤทธ
ิ์
ทางการเรียนที่ดี
5. โอกาสในการเรียนรู (Learning Opportunities) ผูเรียนที่มีโอกาสในการเรียนรูมากยอมมี
ผลสัมฤทธ
ิ์ในการเรียนรูไดดีผูสอนจะเปนผูใหโอกาสในการเรียนรูแกผูเรียนไดโดยการจัด
ประสบการณการเรียนรูแกผูเรียนอยางเหมาะสม
จะเห็นไดวาองคประกอบสําคัญ 5 ประการของการเรียนการสอนท
ี่ประสบความสําเร็จนั้น
ผูสอนจะตองคํานึงถึงผูเรียน (ขอ 1-3) ในดานความแตกตางทางสติปญญาความสามารถแลความ
สนใจความสามารถของผูสอน (ขอ 4-5) จะเก
ี่
ยวของกับความสามารถในการจัดการเรียนการสอนท
ี่
เหมาะสมกับผูเรียนใหผูเรียนมีโอกาสในการเรียนรูมากที่สุดกลวิธีการสอนท
ี่
เหมาะสม จึงควรจัด
ใหเหมาะกับข
ั้นตอนในการเรียนรูของผูเรียนแตละคนใหบรรลุเปาหมายของการเรียนอยางรูแจง
(Mastery Learning) (Carroll, 1974) ดังน
ี้
1. ขั้นรับรู (Acquisition Stage) ในขั้
นนี้ผูเรียนเขาใจสิ่
งท
ี่
เรียนโดยการลองผิดลองถูกและ
ยังไมมีความชํานาญมากนักยกตัวอยางเชน เม
ื่
อเร
ิ่
มการรับรูการสอนของผูสอนใหมๆ
6
2. ขั้นคลองตัว (Fluency Stage) ในขั้
นนี้ผูเรียนจะไดรับการฝกฝนสิ่
งท
ี่
เรียนรูมากขึ้น
ผูเรียนจะมีความชํานาญในความรูที่เรียนมา เชน การฝกทําแบบฝกหัดตาง ๆ
3. ขั้นคงท
ี่ (Maintenance Stage) ในขั้
นนี้ผูเรียนจะมีความชํานาญ และความสามารถจดจํา
สิ่งท
ี่
เรียนรูไดอยางคงท
ี่
เน
ื่องจากประสบความสําเร็จในการฝกฝนจนคลองตัวแลวในขั้
นท
ี่
2 จึงทํา
ใหเกิดความทรงจําระยะยาวไดในสิ่
งท
ี่
เรียนรูเชน การจําคําศัพทการจัดรูปประโยค
4. ขั้นนําไปใช (Application Stage) ในขั้
นนี้ผูเรียนจะสามารถนําความรูที่มีความแมนยํา
ไปใชเชน การลงมือปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ โดยใชความรูที่ไดเรียนมาในสถานการณจริง
5. ขั้นปรับตัว (Adaptation Stage) ในขั้
นนี้ผูเรียนจะสามารถปรับการนําความรูไปใชใน
สถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม เชน การสรางโครงงาน หรือ แผนงาน ดวยความคิด
สรางสรรคของผูเรียน
ขั้นตอนการเรียนรูดังกลาว สามารถนําไปใชในการสรางแผนการสอน รวมทั้งการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนไดเพ
ื่อใหมั่นใจวาผูเรียนสามารถพัฒนาการเรียนรูไดอยางแมนยํา
และสามารถนําความรูไปใชไดจริง
องคประกอบในการจัดแผนการเรียนการสอน
การจัดแผนการเรียนการสอนท
ี่ประสบผลสําเร็จ ควรคํานึงถึงองคประกอบสําคัญ 6
ประการดังน
ี้
1. หลักการและแนวทฤษฎีของวิชาที่ทําการสอน (Approach) ศึกษาหลักการและทฤษฎี
ของวิชาที่ทําการสอนอยางละเอียดโดยพิจารณาหลักการและเหตุผลของแนวโนมใน
การจัดการเรียนการสอนท
ี่
เหมาะสมจากตํารา หรือผลงานวิจัยตาง ๆ จากอดีตถึง
ปจจุบัน
2. วิธีการสอน (Method of Teaching) ศึกษาแนวโนมของหลักการและทฤษฎีหรือ
ผลงานวิจัยวิธีการสอนท
ี่ไดผลของวิชาที่ทําการสอนท
ี่
เหมาะสมและจัดลําดับข
ั้
นตอน
การสอนใหสอดคลองตามแนวโนมของหลักการและทฤษฎีที่ไดศึกษา
3. เทคนิคการสอน (Techniques of Teaching) ศึกษากลวิธีการสอนตาง ๆ ที่จะชวยทําให
ขั้นตอนการสอนตาง ๆ ประสบความสําเร็จไดเชน วิธีการสอนโดยใชการเรียนรูดวย
คําถามเปนหลัก (Problem-Based Learning) เทคนิคหรือกลวิธีการสอนที่สําคัญคือ
การใชคําถาม การนําการอภิปรายการเสริมตอการเรียนรูฯลฯ
4. หลักสูตร (Curriculum) ผูเรียนตองเขาใจรายละเอียดของหลักสูตรต
ั้
งแต ปรัชญา
หลักการ วัตถุประสงครายละเอียดของรายวิชาที่กําหนด รวมท
ั้
งการวัดและ
7
ประเมินผลเพ
ื่
อการวางแผนการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพท
ั้งในระยะยาว
และระยะสั้น
5. สื่อการเรียนการสอน อุปกรณการสอน (Teaching Materials) การเตรียมการเพื่อ
นําเสนอเน
ื้
อหาแกผูเรียนเปนเร
ื่
องสําคัญที่ตองมีการวางแผน และการเตรียมการวาจะ
นําเสนอเน
ื้
อหา หรือแนวคิดอยางไรจึงจะเหมาะสม สื่อการเรียนการสอน และอุปกรณ
ใดบางท
ี่
สมควรนํามาใชใหเหมาะสมกับวัย ระดับความสามารถและความสนใจ
สอดคลองกับเน
ื้
อหาตามวัตถุประสงคของหลักสูตร
6. บทบาทของผูสอนและผูเรียน (Roles of Teachers and Students) การเตรียมการจัดการ
เรียนการสอนท
ั้
งระยะยาวและระยะสั้น เพ
ื่
อพิจารณาบทบาทของผูสอนและผูเรียน
จากกิจกรรมการเรียนการสอนตาง ๆ ในแตละข
ั้
นตอนเพ
ื่
อการจัดกิจกรรมท
ี่
เหมาะสม
ใหการเรียนการสอนเปนไปอยางราบรื่น
หลักการจัดแผนการเรียนการสอนที่ไดผล
การจัดแผนการเรียนการสอนท
ี่ไดผลควรพิจารณาแผนการสอนระยะสั้น หรือแผนการ
สอนในแตละคาบเรียนใหสอดคลองกับแผนการสอนระยะยาว ซึ่งกําหนดไวตามหลักสูตรและแบง
ชวงของการสอนออกเปน 3 ชวงดังน
ี้
1. การใหรูปแบบการสอน (Modeling) พิจารณาการนําเสนอรูปแบบของแนวคิด หรือ
เน
ื้อหาใหผูเรียนสนใจในรูปแบบตาง ๆ เชน การใชรูปภาพ การใชสื่อทัศนูปกรณตาง
ๆ การเลาเร
ื่
องการใชกรณีศึกษาการใชคําถาม ฯลฯ การใชรูปแบบการสอน จะเนน
การนําเสนอท
ี่
สามารถกระตุนใหผูเรียนเกิดแนวคิด หรือการคนควาที่ตอเน
ื่
อง โดย
การนํา หรือเสนอแนะวิธีการจากผูสอนเปนตัวอยาง
2. การใหฝกปฏิบัติ (Practicing) ในชวงน
ี้ใหผูเรียนมีโอกาสฝกปฏิบัติในกลุมยอยกับ
เพ
ื่
อน ๆ หรือตามลําพัง ภายใตการดูแลเอาใจใสและการแนะนําของผูสอน
3. การปฏิบัติกิจกรรมอยางอิสระ (Conducting Independent Activities) ในชวงน
ี้ควรเปด
โอกาสใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ อยางอิสระตามแนวคิดของตนเอง
หรือของกลุมโดยใหประยุกตความรูและแนวคิดท
ี่ไดเรียนรูมาใชดวยความคิด
สรางสรรคของตนเอง
ที่สําคัญในการพิจารณากระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคือการพิจารณาหลักการ
จัดการเรียนรูซึ่งถือเปนเสาหลักของการศึกษา (Delors, 1998) ในยุคสหัสวรรษใหมใหผูเรียนมี
โอกาสไดประการณการเรียนรูดังกลาวดังน
ี้
8
1. การเรียนรูเพ
ื่
อเขาใจ (Learning to know) ใหผูเรียนไดรับรูและเรียนรูเน
ื้
อหาตาง ๆ
อยางมีวิจารณญาณดวยเหตุและผลเพ
ื่
อเขาใจรายละเอียดของเน
ื้
อหาหรือแนวคิดตาง ๆ
ลักษณะของการเรียนรูจึงควรเนนกระบวนการทางการคิด เชน การอภิปรายการคิด
วิเคราะหฯลฯ
2. การเรียนรูเพ
ื่อปฏิบัติ (Learning to do) ใหผูเรียนมีโอกาสลงมือปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ
ดวยตนเอง เพ
ื่อใหเกิดประสบการณการเรียนรูโดยตรงจากการปฏิบัติ
3. การเรียนรูเพ
ื่
ออยูรวมกัน (Learning to live together) ใหผูเรียนมีโอกาสทํางานรวมกัน
กับผูอื่น เพ
ื่อใหรูจักการแบงปน ความรับผิดชอบรวมกัน การชวยเหลือซ
ึ่
งกันและกัน
และการรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น
4. การเรียนรูเพ
ื่อเปนตัวของตัวเอง(Learning to be)ใหผูเรียนมีโอกาสไดรับประสบการณ
การเรียนโดยการรูจักคิดและตัดสินใจในการแกปญหาตาง ๆ ดวยตัวเองอยางมีเหตุผล
เพ
ื่อใหเกิดความม
ั่นใจในตนเอง และมีความเปนตัวของตัวเองไดอยางภาคภูมิใจ เปน
ทั้งคนดีคนเกงและมีความสุขในการเรียนรู
โดยสรุปหลักการและกระบวนการจัดการเรียนการสอน ผูสอนควรทําความเขาใจ
ธรรมชาติของการเรียนรูโดยเฉพาะการทํางานของสมอง ซึ่งเปนกลไกการเรียนรูที่สําคัญ แนวคิด
จากกลไกการเรียนรูจะชวยใหเขาใจระบบการจัดการเรียนการสอนท
ี่
เนนผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่ง
แนวโนมในการจัดการเรียนการสอนใหประสบความสําเร็จยอมมีองคประกอบสําคัญท
ี่
ควร
พิจารณาท
ั้งในดานตัวผูเรียน และคุณสมบัติของผูสอน อันไดแกคุณภาพของการจัดการเรียน การ
สอน และเวลาในการเรียนรูของผูเรียน การพิจารณาจัดข
ั้
นตอนการเรียนการสอนเพ
ื่อใหผูเรียนมี
ความสามารถไดอยางแทจริงก็นับวาเปนเร
ื่
องสําคัญที่ผูสอนตองตระหนักในการจัดวางแผนการ
สอนระยะยาวและระยะส
ั้นใหสอดคลองกัน รวมท
ั้
งการพิจารณารายละเอียดขององคประกอบใน
การจัดการเรียนการสอน นับต
ั้
งแตการเขาใจหลักการและทฤษฎีของวิชาที่ทําการสอน การเลือก
หรือสรางสรรควิธีการสอน และเทคนิคการสอน รวมท
ั้
งความเขาใจกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
สื่อการสอน บทบาทของผูสอน และผูเรียน รวมท
ั้
งลักษณะของการเรียนรูที่ผูเรียนควรมีโอกาสใน
การจัดการเรียนรูอยางครบวงจร
9
บรรณานุกรม
นัยพินิจคชภกดั ี. (2533) ทําไมตองพัฒนาสมองของลูกรัก. เอกสารประกอบการบรรยาย ทาง
วิชาการ ณ โรงแรมแมนดาริน กรุงเทพมหานคร, (อัดสําเนา)
ราตรี สุดทรวง. (2535). ประสาทสรีรวิทยา. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
Carroll, John B. (1974). Learning Theory for the Classroom teacher In Jarvis
G.A.(ed.), The Challenge of Communication, Illinois: National Textbook
Company.
Delors, J. (August, 1998). Learning: The Treasure Within. UNESCO Department of
Employment, Education and Training, Canberra. (1991). Teaching English
Literacy. A Project of National Significance on the Preservice Preparation of
Teachers for Teaching English Literacy, Vol. 1.
Gazzaniga, M.S. (1981, May). Language comprehension in the right hemisphere with
prolonged laterlized assessment procedures. American Psychologist, 528-536.
Jensen, Eric. (2000). Brain-Based Learning. San Diego: The Brain Store Publishing.
Lemonick, Michael D. (1995, July). Glimpses of the mind. In Time magazine,
146(5),P.31.
Sperry, Roger. (1968). Hemisphere disconnection and unity in conscious awareness.
American Psychologist 23, 723-33
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น